ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากมีกิจกรรมการแสดงทางนาฏศิลป์
วันอังคารที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 13
ครั้งที่ 13 วันพุธที่ 14 กันยายน 2554
ความรู้ที่ได้รับ
บรรยากาศ
- สนุก
- ไม่เครียด
ความรู้ที่ได้รับ
- การทำ slide ในบล็อก
- อาจารย์ดูบล็อกและบอกข้อผิดพลาดของแต่ละคน เพื่อจะได้ไปแก้ไข
- แนะนำวิธีทำเกมการศึกษา ภาพต่อติด
งาน
- ทำเกมการศึกษาตามหน่วยที่ได้รับมอบหมาย และนำมาให้อาจารย์ดูวันพุธตอนเช้า
วันจันทร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 12
ครั้งที่ 12 วันพุธที่ 7 กันยายน 2554
ความรู้ที่ได้รับ
บรรยากาศ
-สนุก
- แอร์ในห้องเย็นสบาย
ความรู้ที่ได้รับ
- เกมการศึกษามี 9 แบบ คือ การจับคู่ การต่อภาพให้สมบูรณ์ การวางภาพต่อปลาย การเรียงลำดับ การจัดหมวดหมู่ การสังเกตรายละเอียดของภาพ การจับคู๋แบบตารางสัมพันธ์ พื้นฐานการบวก การหาความสัมพันธ์ตามลำดับที่กำหนด
- อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน เพื่อมาจับฉลากหมวดที่จะนำไปทำเกมการศึกษา ซึ่งกลุ่มดิฉันได้หมวด 10 คือ คมนาคม
- อาจารย์แจกกระดาษเพื่อนำไปทำเกมการศึกษา กลุ่มละแผ่น
งาน
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2554
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 11
ครั้งที่ 11 วันพุธที่ 31 สิงหาคม 2554
บรรยากาศ
- สนุก ไม่ง่วง
- แอร์เย็นมากๆ
ความรู้ที่ได้
- อาจารย์ให้ส่งสื่อที่ทำจากเศษวัสดุเหลือใช้ แล้วร่วมกันสนทนาว่าสื่อนี้ดียังไง หรือไม่ดียังไง
- สื่อที่ดีที่สุด คือตัวเราเอง
- สื่อที่ทำขึ้นมานั้น ต้องแข็งแรง คงทนต่อการเล่น
- สื่อที่ดีต้องเล่นได้หลายรูปแบบ
- เกมการศึกษาแบ่งเป็น การจับคู่ การจับคู่แบบตารางสัมพันธ์ การเรียงลำดับ การหาความสัมพันธ์ การสังเกตรายละเอียดของภาพ ต่อภาพให้สมบูรณ์ วางภาพต่อปลาย พื้นฐานการบวก การจัดหมวดหมู่
- อาจารย์ให้กระดาษทำแผนผังความคิด (Mind Map) เรื่องเกมการศึกษา
- อาจารย์สอนทำแผนผังความคิด (Mind Map)ในคอม เพื่อที่จะให้นักศึกษาเรียนรู้แล้วนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการทำแผนผังความคิด (Mind Map)
งาน
- ทำแผนผังความคิด(Mind Map)ในโปรแกรม เพื่อนำมาใส่ในบล็อก
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 10
ครั้งที่ 10 วันพุธที่ 24 สิงหาคม 2554
ไม่มีการเรียนการสอนเนื่องจากอาจารย์ติดประชุม
-เช็คชื่อกับอาจารย์เหมียว
-อาจารย์สั่งงานให้ทำสื่อจากเศษวัสดุเหลือใช้
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 9
ครั้งที่ 9 วันพุธที่ 17 สิงหาคม 2554
บรรยากาศ
บรรยากาศ
- อากาศกำลังดีเลย เย็นสบาย
- สนุกกับการดูและเล่นสื่อ
- ห้องแคบทำให้กิจกรรมค่อนข้างจะลำบาก
ความรู้ที่ได้รับ
- การที่เราผลิตสื่อขึ้นมาสักชึ้น เราต้องคิดถึงความคงทนแข็งแรงของสื่อ สื่อที่ผลิตขึ้นมานั้นควรเล่นได้หลายรูปแบบ เพื่อเป็นการประหยัดทรัพยากร
- เราควรเอาความรู้จะการผลิตสื่อหลายๆอย่างมีรวมกัน เพื่อความแปลกใหม่ของสื่อ
- ได้รู้ว่าสื่อ แต่ละอย่างควรใช้กับเด็กในช่วงวัยไหน และเล่นอย่างไร
- ได้รู้ว่าเกมการศึกษามีอะไรบ้าง แล้วแต่ละอย่างนำไปประยุกต์กับเด็กได้อย่างไร
บันทึกการเรียนรู้ ครั้งที่ 8
ครั้งที่ 8 วันพุธที่ 10 สิงหาคม 2554
ไม่มีการเรียนการสอน เนื่องจากเป็นการสอบกลางภาคของทางมหาวิทยาลัย
อบรมการทำสื่อประยุกต์
วันอาทิตย์ที่ 7 สิงหาคม 2554 ณ ห้องศูนย์ครู
บรรยากาศ
- สนุกสนาน
- แอร์เย็นสบาย
ความรู้ที่ได้รับ
- นก
- ผลไม้ 3 มิติ (มังคุด สับปะรด)
- สับปะรด
- ป๊อบอัพดอกไม้
- ภาพชักปาก
บรรยากาศ
- สนุกสนาน
- แอร์เย็นสบาย
ความรู้ที่ได้รับ
- นก
แบบนก |
เมื่อได้แบบนกมาแล้วก็ตัดตามรูป |
นำแบบนกที่ตัดแล้ว มาวาดใส่กระดาษสีที่ต้องการ และตัดตามแบบที่วาด พร้อมเจาะตามรูป |
เมื่อได้แบบนกในกระดาษสีแล้ว ก็ร้อยเชือกที่ปีกทั้งสองข้างเพื่อไว้ดึง และที่หลังของนก |
ตกแต่งนกตามจินตานากรของแต่ละคน แล้วจะได้นกที่สามารถบินได้ |
- ผลไม้ 3 มิติ (มังคุด สับปะรด)
ตัดกระดาษเป็นรูปวงกลม หลังจากนั้นก็เอากรรไกรตัดเข้าไปในวงกลมประมาณ 1 เซนติเมตร |
ติดกาวตรงที่ตัด แล้วเอาอีกข้างมาประกบกัน ทำแบบนี้ทั้งสองอัน ดังรูป |
ตัดกระดาษสีเขียวเพื่อที่จะทำตัวของมังคุด ดังรูป |
เอาทั้งสองอันมาประกอบกัน ก็จะได้มังคุดที่มีมิติตามต้องการ |
- สับปะรด
แบบสับปะรด |
วาดแบบสับปะรดในกระดาษสี หลังจากนั้นก็ตัดออกมา ดังรูป |
วาดตาของสับปะรด ในกระดาษที่ตัดไว้ |
ตัดเข้ามาเป็นเส้นตรงประมาณ 1 เซนติเมตร ที่หัวและท้ายของสับปะรด ดังรูป |
ติดที่รอยตัดเข้าด้วยกันทั้งหัวและท้าย เพื่อให้สับปะรดมีมิติขึ้นมา ดังรูป |
ประกอบทั้งสามส่วนเข้าด้วยกัน ก็จะได้สับปะรดที่มีมิติตามต้องการ |
- ป๊อบอัพดอกไม้
แบบดอกไม้ป๊อบอัพ |
วาดแบบลงในกระดาษสีตามต้องการ หลังจากนั้นก็ตักออกมา ดังรูป |
นำชิ้นส่วนทุกอย่างงที่ตัดไว้ มาประกอบกัน ก็จะได้ดอกไม้ป๊อบอัพตามต้องการ |
- ภาพชักปาก
แบบหน้าภาพชัก |
ตัดกระดาษสี ตามแบบที่เตรียมไว้ |
ตัดกระดาษเป็นเส้นสองเส้น หลังจากนั้นก็พกไปพับมา สลับกัน ก็จะได้สปริง ดังรูป |
นำภาพที่ได้มาติดบนกระดาษแข็ง ติดสปริงที่ปาก แล้วรอยเชือกจากปากทะลุไปที่หัวแล้วก็แทงขึ้นมาจากข้างหลังตรงคอ ก็จะได้ภาพที่สามารถชักปากขึ้นลงได้ - ที่รองกรีด ป้ายนิเทศ |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)